Friday, June 15, 2012

Congratulation to 323 Burmese workers who were victorious in their struggle for wages in accordance to Thailand’s Minimum Wage Law.




Media Statement

Congratulation to 323 Burmese workers who were victorious in their struggle for wages in accordance to Thailand’s Minimum Wage Law. 
 

323 Workers at  M APPAREL CO.LTD , Mae  Sot, Tak, Thailand  have been working with MAP Foundation and Yaung Chi Oo Worker Association to negotiate wages with their employer  at the Labour Protection Office. On June 5th , they were successful in their negotiations, and are now be paid wages at the rate of the new minimum wage for Mae Sot, as must be the case for all workers, including migrant workers. However, migrant workers are often denied this right and are paid much lower than at the operative minimum wage rate, as set by the government of Thailand.

Workers claimed victory in this struggle against their employer to be paid wages, in accordance with the minimum wage law, and for improved living and working conditions. When the workers were not being paid wages in accordance with the law, following the 1st April increase in Thailand‘s minimum wages for this region, the  workers demanded their rights and on 15th May, went on a strike that lasted 21 days. According to the law, they were entitled to minimum wages of 226 Baht per normal working day of 8 hours, not including overtime .Prior to this date; workers in this region were entitled in law to minimum wages of 162 Baht per day.

Before this, the said 323 workers were only earning 60-100 baht in total, which included overtime, per day, in a 8:00 am to 11:00 pm shift, with no day off (rest day). The overtime rate of the factory was 8-10 baht an hour.  

Since 10th April, the employer failed to pay the workers’ wages. This caused great hardship to the workers, for without wages, they did not have money to buy food and other daily necessities. The workers wanted to be paid wages in accordance with the new minimum wage, as set by law. They also were demanding for better housing rights – that the employer repairs their living quarters, and provide clean water and electricity. The wanted the same rights as other workers.

On 10th May,   which was the usual pay day, the factory announced that they will only be paying wages  on 12th May. On 12th May, the factory again postponed payment, citing the reason was because the employer was sick, and that payments will be made on 14th May. On 14th May, again they were told that the employer was sick, and wages due will be paid on 17th May.  On this day, the manager offered 85 baht for each worker as a loan, but workers refused the loan and demanded their full wages.

Workers could not tolerate this situation any longer, and on 15th May, began a strike in front of the factory demanding increased wages and improved living and working conditions.

The factory manager told them that if they did not work then they need to get out from the factory compound.  209 workers were forced to leave their living quarters, and went to stay at Wat Ban Song Kwae, a temple.

After becoming aware of  their  rights under the  Labour protection  and Labour Relations  Act  from  MAP and Yaung Chi Oo, they then selected  7 worker representatives who wrote a letter to their employer stating that the employer  had violated  the law, including Labour  protection and  labour Relations Act, regarding wages and day  off.  The workers demanded that:-

1.  The employer complies with Labour Protection act 1998, and pay daily minimum wages of 226 baht. That every employee be given at least one day off (rest day) each week, public holidays, etc.

2. The employer pay employee’s wages not later than the 5th of every month.

3. That the employer allows migrant workers to change  employer  if the current employer cannot agree on the demanded employment terms, and in such cases, to immediately return all the worker’s documentations.

4. To pay workers double wages when they work on rest days (their weekly day off).

 5. That the employer stops intimidations or dismissal of workers when they are no errors or failings that are directly linked to work done by the said employee.

6.  That the employer stops their supervisors from verbally abusing workers.

On 16th May, the workers,  together  with MAP Foundation  and Yaung  Chi Oo Worker Association, sent a formal letter of complaint to the Mae Sot Labor Protection Office,  and  the workers demanded that the employer to  enter into negotiations with them by 17th May, failing which they will re-commence the  strike.

On 17th May, workers enter into negotiations with employer facilitated by the Mae Sot Labour Protection Officer. The employer agreed to comply with demands 2 to 6, but did not want to agree with the Demand No1.

On 29th May, the employer still did not want to pay minimum wages.  The workers reasonably proposed that the employer pay only 160 baht per day, the rest being taken as deductions for   water, accommodations and food, but the employer still did not agree and no agreement was reached.

On that day, 323 workers (mostly women) moved to stay in  Wat Song Kaew as the temple had graciously allowed them to stay there. They also received support from community groups in Mae Sot.

 On 5th June, the workers were victorious, when the Labor Protection Office stipulated that the employer shall pay the workers wages at the rate of 226 baht/day for the said 323 workers, with a condition that the workers will have to seek their own lodgings by 10th June. The agreement was signed.

They are still another 60   workers, who were not part of this negotiations, and they can continue to stay at the accommodation provided by the factory, and they  still do not receive wages equivalent to the legal minimum wages .

MAP Foundation would like to congratulate all 323 workers who stood up for their rights and bravely continued to struggle until the employer was forced to comply with the Legal Minimum Wages law.

M APPAREL CO.LTD will  the first factory in the Mae Sot area to pay wages in accordance to the new legal minimum wage for Tak Province, without any wrongful deductions,  but we are  concerned that  the remaining 60  workers  work in this same factory,  as well  as another  hundred thousand  factory ‘s workers in Mae Sot, who still do not receive wages as per the stipulated legal minimum wage.

Therefore, we demand:-

1.         That the Thai government and relevant authorities ensure  that  the  employer of at M APPAREL CO.LTD , Mae  Sot will fulfill the agreement,  especially with regard to wages in accordance with the  legal minimum wages law, with regard to the said workers  who  work in their factory, and do not try to use lame reason to  terminate or discriminate against these workers who claimed their rights and were successful also by reason of the intervention and decision of the Labour Protection Officer.

2.         That the Ministry of Labour send more labour inspectors  to  inspect  all factories in Mae Sot, to ensure that all employers are following Thai law, and are paying all their employees as least the legal minimum wages

 For more information please contact:

Contact Person Ms Jacqueline Pollock Mob Tel: 66 860904118 Email: Jackie_pollock@yahoo.com

Aye Salam for Thai and Burmese language:  Mob Tel   +66869367275 

Pranom Somwong   : Mob Tel+ 66831887600 Email p_somwong@yahoo.com



เราขอแสดงความยินดีกับแรงงานพม่า 323 คนที่ได้รับชัยชนะในการต่อสู้เพื่อให้ได้ค่าแรงตามกฎหมายค่าจ้างขั้นต่ำ

แรงงานพม่า 323 คนที่ทำงานในโรงงาน เอ็มแอพพาแรล จำกัด ได้ร่วมกับมูลนิธิแมพและสมาคมแรงงานยองชีอูเพื่อเจรจากับนายจ้างโดยผ่านทางสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สาขาอำเภอแม่สอด  เมื่อวันที่ 5 มิถุนายนที่ผ่านมา แรงงานได้ประสบความสำเร็จในการเจรจาและขณะนี้ได้รับการจ่ายค่าจ้างตามอัตราค่าจ้างขั้นต่ำอัตราใหม่ของแม่สอด  ซึ่งจริงๆแล้วแรงงานทุกคนต้องได้รับการจ่ายค่าจ้างขั้นต่ำ โดยต้องรวมถึงแรงงานข้ามชาติด้วย อย่างไรก็ตามแรงงานข้ามชาติส่วนใหญ่ไม่ได้รับการจ่ายค่าจ้างขั้นต่ำตาม กฎหมายและค่าจ้างจริงๆที่ได้รับมักจะต่ำกว่าที่รัฐบาลไทยกำหนดทางกฎหมายมาก


แรงงานได้รับชัยชนะในการต่อสู้เพื่อให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างตามกฎหมายค่าจ้างขั้นต่ำ และเพื่อให้นายจ้างปรับปรุงสภาพการทำงานและสภาพความเป็นอยู่ เมื่อแรงงานไม่ได้รับการจ่ายค่าจ้างตามกฎหมาย ตามที่รัฐบาลกำหนดอัตราใหม่เพิ่มขึ้นในวันที่ 1 เมษายนที่ผ่านมา แรงงานได้เรียกร้องสิทธิของตนและได้ดำเนินกระบวนการเพื่อนัดหยุดงานจำนวน 21 วัน เริ่มเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม ซึ่งตามกฎหมายแรงงานควรมีสิทธิได้รับค่าแรง 226 บาทในเวลาทำงาน 8 ชั่วโมงของวันทำงานปกติ ก่อนที่จะมีการกำหนดอัตราค่าแรงงานขั้นต่ำใหม่นี้ แรงงานในพื้นที่นี้ควรจะได้รับค่าแรงขั้นต่ำตามกฎหมาย วันละ 162 บาท

ทว่าก่อนที่แรงงานจะเรียกร้องสิทธิพวกเธอและเขา แรงงานได้รับค่าแรงจริงเพียงแค่ 60-100 บาท ซึ่งในเงินจำนวนนี้ได้รวมค่าทำงานล่วงเวลาและการทำงานในวันหยุดแล้ว แรงงานต้องทำงานโดยไม่มีวันหยุดตั้งแต่ 8.00 เช้าถึงห้าทุ่ม โดยโรงงานจ่ายค่าล่วงเวลาแค่ชั่วโมงละ 8-10 บาท

เหตุเกิดจากการนายจ้างไม่จ่ายค่าแรงตั้งแต่วันที่ 10 เมษายน ส่งผลให้แรงงานประสบความยากลำบาก ต้องอยู่โดยไม่มีเงิน ต้องอดอยากไม่มีเงินซื้ออาหารกินและไม่มีเงินใช้จ่ายในสิ่งของพื้นฐานที่จะเป็นต่อการดำรงชีวิต แรงงานเริ่มที่จะเรียกร้องให้นายจ้างจ่ายค่าแรงขั้นต่ำอัตราใหม่ตามที่กฎหมายกำหนด และอยากให้นายจ้างซ่อมแซมที่พัก จัดให้มีน้ำดื่มที่สะอาดและมีไฟฟ้าใช้ และได้รับสิทธิที่พึงมีพึงได้เหมือนแรงงานคนอื่นๆ

วันที่ 10 พฤษภาคม ซึ่งเป็นวันกำหนดจ่ายเงินเดือน  โรงงานได้ประกาศว่าจะเลื่อนไปจ่ายวันที่ 12 พอถึงวันที่ 12 พฤษภาคม โรงงานได้ประกาศว่านายจ้างป่วยจะเลื่อนไปจ่ายวันที่ 14 พอถึง 14 พฤษภาคม โรงงานแจ้งว่านายจ้างยังป่วย ผู้จัดการสามารถให้แรงงานยืมเงินก่อนคนละ 85 บาท ส่วนค่าแรงจะเลื่อนไปจ่ายวันที่ 17 พฤษภาคม  แรงงานปฏิเสธไม่ยืมเงินและยืนยันให้โรงงานจ่ายค่าแรงเต็มจำนวน

ที่เป็นเช่นนี้เพราะแรงงานไม่สามารถทนการกดขี่ต่อไปได้อีก ดังนั้นวันที่ 15 พฤษภาคม แรงงานได้เริ่มนัดหยุดงาน โดยได้เริ่มจากรวมตัวหน้าโรงงานและเรียกร้องให้นายจ้างเพิ่มค่าแรงและปรับปรุงสภาพการทำงานและสภาพความเป็นอยู่

ผู้จัดการโรงงานแจ้งว่าหากแรงงานไม่ทำงานก็ต้องออกไปจากบริเวณโรงงาน แรงงานจำนวน 209 คนถูกบังคับให้ออกนอกบริเวณโรงงานและต้องไปอาศัยวัดสองแควอยู่

หลังจากที่แรงงานได้เรียนรู้สิทธิของตนตามกฎหมายจากมูลนิธิแมพและสมาคมแรงงานยองชีอู แรงงานได้เลือกตัวแทน 7 คนเพื่อดำเนินการเจรจาและเขียนข้อเรียกร้องส่งถึงนายจ้าง ระบุว่าที่ผ่านมาแรงงาน 209 คน ได้พิจารณาแล้วเห็นว่านายจ้างและทางบริษัทจ่ายค่าจ้างผิดนัดและไม่ได้ปฎิบัติตาพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 โดยเฉพาะที่เกี่ยวเนื่องกับค่าแรงและวันหยุดในการทำงาน รวมถึงการเรียกร้องเรื่องสภาพการทำงานและมีข้อเรียกร้องต่อนายจ้างดังนี้

1.  ให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และจ่ายค่าจ้างขั้นตำวันละ 226 บาท และลูกจ้างต้องมีวันหยุดอย่างน้อยหนึ่งวันต่อสัปดาห์ รวมถึงวันหยุดตามประเพณี และวันหยุดอื่นๆที่กฎหมายกำหนด

2. นายจ้างต้องจ่ายค่าจ้างไม่เกินวันที่ 5 ของทุกเดือน

3 ให้ลูกจ้างสามารถเปลี่ยนย้ายนายจ้างได้และบริษัททำการแจ้งออกแรงงานพร้อมกับคืนเอกสารให้กับแรงงานด้วย
4.ในการทำงานในวันหยุดนั้นนายจ้างต้องจ่ายค่าจ้าง 2 เท่าในวันทำงานปกติ
5.ห้ามนายจ้างกลั่นแกล้งหรือเลิกจ้างในกรณีที่ลูกจ้างไม่มีความผิด
6.หัวหน้าแผนก หรือหัวหน้างานไม่มีอำนาจดุด่า ว่ากล่าว ยกเว้นตักเตือนเรื่องของงาน

วันที่ 16 พฤษภาคม แรงงานร่วมกับมูลนิธิแมพและสมาคมแรงงานยองชีอู ได้ยื่นหนังสือเรียกร้องให้สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สาขา แม่สอด ระบุถึงข้อเรียกร้องดังกล่าวและขอให้ทางบริษัทดำเนินการและเจรจากับตัวแทน แรงงาน ภายในวันที่17พฤษภาคม2555 หากไม่ดำเนินการภายในกำหนดทางแรงงานจะดำเนินการแจ้งการหยุดงานตามลายมือชื่อแนบท้ายเอกสาร

วันที่ 17 พฤษภาคม แรงงานได้ทำการเจรจากับนายจ้างโดยผ่านทางสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สาขา แม่สอด นายจ้างยินยอมดำเนินการตามข้อรียกร้อง 2-6 แต่ไม่สามารถตกลงกันได้ในข้อเรียกร้องข้อหนึ่งเรื่องค่าแรง

วันที่  29 พฤษภาคม นายจ้างยังคงไม่ปฏิบัติการตามข้อเรียกร้องค่าจ้างขั้นต่ำตามกฎหมาย แรงงานได้ใช้เหตุผลและเสนอว่าให้นายจ้างจ่ายค่าแรงวันละ 160 บาทได้ และค่าจ้างที่เหลือให้เป็นการหักจ่ายค่าน้ำ ค่าที่พักและอาหาร แต่นายจ้างยังคงไม่ยอม วันเดียวกันนั้น แรงงานส่วนใหญ่ที่เป็นผู้หญิงได้ย้ายไปอยู่ที่วัดสองแคว ซึ่งทางวัดเมตตาให้ที่พักอาศัยระหว่างที่ประสบปัญหาและไดรับการช่วยเหลือบางส่วนจากองค์กรชุมชนในแม่สอด

วันที่ 5 มิถุนายน   แรงงานประสบชัยชนะเมื่อสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สาขา แม่สอด มีคำสั่งให้นายจ้างต้องจ่ายเงินค่าจ้างขั้นต่ำตามกฎหมายแรงงาน วันละ 226 บาทกับแรงงาน 323 คน ให้มีวันหยุดวันอาทิตย์ หากมีล่วงเวลาให้จ่ายตามกฎหมายแรงงานและให้จ่ายทุกวันที่ 10 ของเดือน และแรงงานต้องย้ายไปพักอาศัยข้างนอกโรงงาน ภายในวันที่ 10 มิถุนายน 2555  พร้อมทั้งมีการลงลายมือชื่อในข้อตกลงนั้นจากทุกฝ่าย  แต่หลังจากข้อตกลงฉบับนี้ยังมีแรงงานที่เหลือ 60 คนที่ไม่ได้รับค่าจ้างขั้นต่ำตามกฎหมาย และแรงงานกลุ่มนี้ยังพักอาศัยและทำงานตามปกติในโรงงาน 

มูลนิธิแมพของแสดงความยินดีกับแรงงานจำนวน 323 คนที่ลุกขึ้นต่อสู้เพื่อสิทธิของตนและมีความกล้าหาญอย่างต่อเนื่องในกระบวน การต่อสู้จนกระทั่งทำให้นายจ้างต้องปฏิบัติตามกฎหมายค่าจ้างขั้นต่ำตาม กฎหมายได้

โรงงาน เอ็มแอพพาแรล จำกัด จะเป็นโรงงานแห่งแรกในแม่สอดที่จ่ายค่าจ้างตามกฎหมายค่าจ้างขั้นต่ำในจังหวัดตาก โดยไม่มีการหักค่าใช้จ่ายที่กฎหมายไม่อนุญาต  แต่เรายังคงมีความห่วงใยต่อแรงงานอีก 60 คนและแรงงานในโรงงานอื่นๆอีกนับแสนคน ที่ยังคงได้รับค่าจ้างในอัตราเก่าที่ตำกว่าค่าจ้างขั้นต่ำตามกฎหมาย

ดังนั้นเราจึงขอเรียกร้องให้

1.         ให้รัฐบาลไทย และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องมีมาตรการที่มั่นใจได้ว่านายจ้าง โรงงาน เอ็มแอพพาแรล จำกัด จะทำตามบันทึกข้อตกลงและคำสั่งของสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจ่ายค่าจ้างขั้นต่ำตามกฎหมายให้แรงงาน และไม่หาเหตุผลที่ไม่ชอบธรรมใดๆในการเลิกจ้างหรือเลือกปฏิบัติแรงงานที่ ต่อสู้เพื่อสิทธิของตนผ่านทางกระบวนการทางกฎหมายและผ่านกระบวนการของเจ้า หน้าที่สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

2.         ให้ กระทรวงแรงงานส่งพนักงานตรวจแรงงานไปตรวจทุกโรงงานในแม่สอดเพื่อตรวจสภาพการ ทำงานของลูกจ้างและสภาพการจ้างงานเพื่อให้มั่นใจว่านายจ้างจะปฏิบัติตาม กฎหมายแรงงานและจ่ายค่าจ้างขั้นต่ำตามกฎหมาย


สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
คุณ สุทธิศักดิ์ รุ่งเรืองผาสุก   โทร    +66869367275
คุณ แจ๊คกี้ พอลล๊อก           โทร     +66860904118
คุณ ปรานม สมวงศ์              โทร    +66831887600

 

Saturday, June 2, 2012

AEC bad for Thai farmers, workers: NGOs (Nation, 29/5/2012)

 

AEC bad for Thai farmers, workers: NGOs



Poor farmers and unskilled labourers would feel a negative impact and no benefits from the 2015 launch of the Asean Economic Community (AEC), a forum of non-governmental organisations said yesterday.

Thailand was set to open its borders to almost all farming products from Asean members, meaning its major products such as rice would no longer be competitive, said Witoon Lianchamroon, director of BioThai.
Thailand's standing as a regional powerhouse in rice production was misunderstood, he said. Under the AEC, Thai farmers would get hurt in the long run as their production costs were increasing while yield was reducing, he said.

Thailand has the region's highest production cost but near lowest productivity, he said. Vietnam has the region's highest yield, of 862.4 kilograms per rai, against Thailand's 448kg per rai, he said. Myanmar's 427.2kg per rai is the region's lowest.

Asean members Indonesia, Malaysia and the Philippines have maintained high import tariffs for rice of 25, 20 and 40 per cent respectively ahead of 2015, he said.

Thailand's cassava production also was badly placed, with a yield of 2 tonnes per rai against Cambodia's 5 tonnes, said Witoon, adding that Thai farmers were facing difficulty in competing with the lower-cost produce from other Asean countries.

Thailand's unskilled labourers would also face difficulty as cross-regional movement of their counterparts from other Asean members increased over the next three years, said Pranom Somwong of Asean Watch.

Asean members have agreed to allow skilled workers - doctors, dentists, nurses, engineers, architects, accountants and surveyors - free movement by 2015.

The group, however, has no agreement for movement of the huge number of unskilled workers in the region, she said.

Though Asean has issued a declaration to protect and promote the rights of migrant workers, it only covered registered migrant workers, while ignoring the millions of undocumented workers, she said.

Asean members have been reluctant to receive unskilled migrant labourers despite demand for them. Thailand has only 851,830 registered migrant workers - from Cambodia, Laos and Myanmar - with more than 1.5 million of them working here undocumented and thus lacking proper protection for their rights and lives, she said.

Pranom urged Asean to pay more attention to undocumented and unskilled labourers as the group steered toward 2015 integration in the AEC. - Nation, 29/5/2012, AEC bad for Thai farmers, workers: NGOs